กิจกรรม17-21มกราคม2554

 ตอบข้อ 3
อธิบาย
                                                       ตอบข้อ 2
                                                         อธิบาย
สูตร    อัตราเร็วเชิงมุม
   =        =    
w    =    ระยะทางเชิงมุม / เวลา    =    
v    =    wR
w    =        =    2 f
Fc    =    mw2R
v    =        =    2 Rf
      -    ระยะทางเชิงมุม
w    -    อัตราเร็วเชิงมุม
T    -    คาบ
f    -    ความถี่
R    -    รัศมี
 ตอบข้อ 4
อธิบาย       จากสูตร อัตราความเร็วเฉลี่ย=ระยะทาง/เวลา
 
        ตอบข้อ 3    
        อธิบาย   การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย            ถ้านักเรียนนั่งชิงช้าแล้วทำให้ชิงช้าแกว่ง  นักเรียนจะเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำทางเดิมหลายครั้ง  โดยขณะแกว่งออกไปถึงตำแหน่งหนึ่ง  ก็จะหยุดชั่วขณะ  แล้วแก่วงกลับไปสู่อีกทางหนึ่ง  และเมื่อถึงอีกตำแหน่งหนึ่ง  ก็จะหยุดชั่วขณะแล้วแก่วงกลับไปอีกทางหนึ่ง  และเป็นอย่างนี้หลายครั้ง  จนในที่สุดชิงช้าจะหยุดเพราะมีแรงต้านการแก่วงจากอากาศตลอดเวลา



            -  ถ้าแรงต้านมีค่าน้อยและมวลของวัตถุเปลี่ยนจะมีผลต่อการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาหรือไม่
                                     
กิจกรรม 1.4  การเคลื่อนที่แบบแกว่ง
                                      

                                          ภาพการจัดอุปกรณ์
1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ  ผลักนอตให้แกว่งโดยเส้นเชือกทำมุมเล็กๆกับแนวดิ่ง  แล้วจัวเวลาที่น๊อตแกว่งครบ  10  รอบ  แล้วคำนวณหาคาบการแกว่ง
2.  ระดมความคิดออกแบบการทดลองเพื่อการศึกษาว่าการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปรต่างๆในชุดทดลองมีผลต่อคาบการแก่วงอย่างไร
3.  นำเสนอผลการทดลองในรูปกราฟ  และอธิบายความสัมพันธ์จากกราฟ

            การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำทางเดิม  โดยมุมที่เบนจากแนวดิ่งซึ่งเป็นค่าสูงสุดคงตัวตลอด   เรียกว่า  การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย   (simple  harmonic  motion) 

            การเคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้นไปด้านหนึ่งแล้วเคลื่อนที่กลับมายังจุดเริ่มต้นเดิม  ดังเช่นภาพที่  1.14  เมื่อน๊อตเคลื่อนที่จาก  A  ไป  B  ไป  C  แล้วกลับมาที่  A  อีกครั้งหนึ่งเป็นการเคลื่อนที่ครบ  1  รอบ  เวลาในการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาครบ  1  รอบ  เรียกว่า  คาบ  ของการเคลื่อนที่  จำนวนรอบของการเคลื่อนที่ใน  1  วินาที  เรียกว่า  ความถี่  มีหน่วยเป็น  รอบต่อวินาที  หรือเฮิรตซ์
                                  
                                         ภาพ 1.14  การแกว่งของนอต
            -  การเคลื่อนที่ของชิงช้าแก่วงเป็นกาเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกยอย่างง่ายหรือไม่  อธิบายประกอบ
            -  เพราะเหตุใดการหาคาบการเคลื่อนที่จึงต้องจับเวลาในการเคลื่อนที่หลายๆรอบ
            -  จากการเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย  ต่างจากการเคลื่อนที่แบบวงกลมอย่างไร
                                   
                                         ภาพ 1.15  นาฬิกาลูกตุ้ม


            ความรู้เรื่องการเคลื่อนที่แบบอาร์โมนิกอย่างง่าย  นำไปสู่การสร้างนาฬิกาแบลูกตุ้ม
            ในธรรมชาติและกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันของมนุษย์  มีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่มากมาย  การที่เราเข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ  นอกจากจะทำให้เราทราบซึ้งในธรรมชาติและช่วนให้เราทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องได้สำเร็จแล้ว  ยังจะช่วยให้เรามีความปลอดภัย  รวมทั้งเป็นแนวคิดพื้นฐานที่นำไปสู่การพัมนาทางเทคโนโลยีอีกด้วย
ที่มา http://km.vcharkarn.com/physics/mo4/67-2010-09-23-08-18-40

 ตอบข้อ 2
อธิบาย




T = 24/sin (theta) 
    เมื่อ T  คือคาบเวลาที่ระนาบการแกว่ง จะวนมายังตำแหน่งเดิม หน่วยเป็นชั่วโมง และ theta  คือค่าละติจูดของตำแหน่งที่อยู่ จะเห็นว่าที่ขั้วโลกเหนือนั้น ระนาบการแกว่งจะเปลี่ยนแปลง และวนกลับมายังตำแหน่งเดิมในเวลา 24 ชั่วโมง (ขั้วโลกมี ละติจูดเท่ากับ 90 องศาเหนือ  และ sin 90 เท่ากับ 1) ในขณะที่บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรนั้น ระนาบการแกว่งจะไม่เปลี่ยนเลย (เช่นถ้าทำการทดลอง ในประเทศไทยก็แทบจะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเลย ว้า...)
http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/ericksontutor/tutor/2210/mechanical_oscillations/indexthai.htm
ตอบข้อ 4
 อธิบาย
 ตอบข้อ 3

 ตอบข้อ 1
 ตอบข้อ 3
ตอบข้อ 4